[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by DATA CENTER KANPOLY V 1.00
วิทยาลัยการอาชีพแม่น้ำแคว
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
แหล่งเรียนรู้


การบริหารจัดการสถานศึกษา






มุมดาวน์โหลด








ข้อมูล 9 ประเภท

ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา
ข้อมูลบุคลากร
ข้อมูลงบประมาณและการเงิน
ข้อมูลหลักสูตรและการสอน
ข้อมูลครุภัณฑ์
ข้อมูลอาคารสถานที่
ข้อมูลตลาดแรงงาน
ข้อมูลพื้นฐานจังหวัด

แผนปฏิบัติการ
รายงานการประเมินตนเอง
เว็บไซต์แนะนำ



  

งานวิจัยทั่วไป
    เรื่อง : การสร้างและหาสมรรถนะอุปกรณ์ถอดประกอบวาล์วเครื่องยนต์ ด้วยแขนกดไฮดรอลิก

เจ้าของผลงาน : นายระพิน ศักดิ์พรหม นายกิตติศักดิ์ บัวศรี
พุธ ที่ 7 เดือน มิถุนายน พ.ศ.2560
เข้าชม : 2089    จำนวนการดาวน์โหลด : 0 ครั้ง
4.5 stars เฉลี่ย : 4.5 จาก 6 ครั้ง.

บทคัดย่อ :
          การวิจัย เรื่อง การสร้างและหาสมรรถนะอุปกรณ์ถอดประกอบวาล์วเครื่องยนต์ ด้วยแขนกดไฮดรอลิก  ( Creating  and Seeking the performance of an  Engine Removable valve springs  Device  with a Hydraulic Arm )  มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างอุปกรณ์ถอดประกอบวาล์วเครื่องยนต์ ด้วยแขนกดไฮดรอลิก วิเคราะห์หาสมรรถนะและความพึงพอใจของอุปกรณ์ถอดประกอบวาล์วเครื่องยนต์ ด้วยแขนกดไฮดรอลิก โดยเปรียบเทียบกับการปฏิบัติการถอดประกอบวาล์วด้วยซีแคลมป์ (C-clamp )  โดยใช้ประชากรกลุ่มตัวอย่างจากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) อู่หรือศูนย์ซ่อมรถยนต์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ช่างประจำอู่หรือศูนย์ซ่อมรถยนต์ จังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 30 คน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่  ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)  
         1) ผลการวิจัยพบว่า เครื่องยนต์ 4 สูบ 8 วาล์ว  เมื่อพิจารณาลำดับสมรรถนะของอุปกรณ์  ชุดอุปกรณ์ถอดประกอบ เล็บวาล์วได้สะดวก และใช้วัสดุที่มีความแข็งแรง ทนทาน มีค่าเฉลี่ย ( =4.80±.422)  รองลงมา แขนกดวาล์วมีความแข็งแรงไม่บิดเบี้ยว ไฮดรอลิกมีแรงดันมากพอที่จะเอาชนะแรงดันสปริงวาล์วเครื่องยนต์มีค่าเฉลี่ย ( =4.70±.483)  โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ( =4.55±.206) และเครื่องยนต์ 6 สูบ 12 วาล์ว  เมื่อพิจารณาลำดับสมรรถนะของอุปกรณ์ เมื่อใช้แรงดันไฮดรอลิกกดวาล์ว แขนกดวาล์วมีความแข็งแรง ไม่บิดเบี้ยว  มีค่าเฉลี่ย  ( =4.80±.422) รองลงมา อุปกรณ์ไม่สร้างความเสียหายต่อชิ้นส่วนบนฝาสูบ และไม่ส่งผลให้ตีนวาล์วเกิดการชำรุด เสียหาย มีค่าเฉลี่ย ( =4.60±.516)  โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ( =4.55±.206)
          2) ผลความพึงพอใจ ต่ออุปกรณ์ถอดประกอบวาล์วเครื่องยนต์ ด้วยแขนกดไฮดรอลิก เครื่องยนต์ 4 สูบ 8 วาล์วแถวเรียงและเครื่องยนต์ 6 สูบ 12 วาล์วแถวเรียง  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านการออกแบบ  มีค่าเฉลี่ย ( =4.62±.21)  รองลงมาคือ ด้านความปลอดภัย มีค่าเฉลี่ย ( 4.56±.20) และด้านการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย ( 4.50±.20) โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ( =4.56±.16)



งานวิจัยทั่วไป 5 อันดับล่าสุด

      การประเมินโครงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของวิทยาลัยสารพัดช่างกาญจนบุรี 20/ก.ย./2564
      การสร้างและหาสมรรถนะอุปกรณ์ถอดประกอบวาล์วเครื่องยนต์ ด้วยแขนกดไฮดรอลิก 7/มิ.ย./2560
      เผยแพร่ผลงานวิจัย ทั้งหมด 3 ผลงาน กรุณาคลิกที่นี้!! 4/ธ.ค./2557


escort bayan